พุทธแท้..ต้องใช้..ภาษา..ง่ายๆ พระพุทธองค์ ทรงให้ หลักพื้นฐาน 3 ประการ ง่ายๆใน..การรักษาพระพุทธศาสนา ศีล สมาธิ ปัญญา พุทธบริษัทที่ดีทั้งหลาย เข้าถึง เข้าใจ ได้จริงแท้เพียงใด?? เข้าถึงจิตใจ ได้ลึกซึ้ง เพียงใด?? ทำการใดๆ กิจวัตรประจำวันใดๆ เป็นปรมัตต์(พูด ทำ จาก ใจบริสุทธิ์) หรือยัง?? คิด พูด ทำ ตรงกันไหม???บนพื้นฐานไตรสิกขา??? เข้าใจ เข้าถึง หลักไตรลักษณ์???อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ปัญญา อันว่าปัญญา นั้นสำคัญยิ่งนัก(บัวใต้ตม ยังเติบโต พ้นน้ำได้ ให้ดอกได้) แม้พระพุทธองค์ ยังสอนชัดๆ ไม่ให้ยึดติด ยึดมั่น ถือมั่น ว่าเหนือผู้อื่น ข่มผู้อื่น จึงกล่าวว่า "ผู้ใดเห็น ธรรม ผู้นั้นเห็น ตถาคต" (ให้ความสำคัญ พระธรรม มาก่อน พระองค์) เพราะทรงกลัวว่า พุทธบริษัทรุ่นหลังๆ จะไม่ใช้ปัญญา พิสูจน์ ธรรม ให้แจ้งจริง พระองค์ทรงกลัวว่า พุทธบริษัทรุ่นหลังๆ จะศรัทธา พระองค์ มากเกินไปจน งมงาย ชักจูงง่าย เมื่องมงาย จะไม่ใช้ปัญญา ของตัวเองปฎิบัติ เพื่อพิสูจน์ ธรรม ว่าจริงเท็จ เป็นอย่างไร???แล้วไม่แจ้งจริง พระพุทธองค์ จึงทรงตรัสไว้ง่ายๆว่า "ตน เป็นที่พึ่งแห่ง ตน" ด้วยทรงหวังว่า พุทธบริษัทรุ่นหลังๆ จะศึกษา และปฎิบัติ ด้วยตัวเอง ร้แจ้ง เห็นจริง อย่า..สักแต่ว่า ท่อง จำ คำหรูๆ ฟังดูเหมือน รู้ธรรมสูง แต่ไม่เข้าใจ เนื้อหา อย่า..อ้าง..ภาษาบัญญัติ แล้วคิดว่า ข้าเหนือกว่า..โดย ไม่เข้าใจ ไม่ปฎิบัติ บรรลุจริง ใช้คำง่ายๆ ภาษาง่ายๆ ปฎิบัติง่ายๆ อย่างเข้าใจ เข้าถึง ดั่งพระอริยสงฆ์ เช่น หลวงปู่มั่น หลวงตามหาบัว ฯลฯ (good) (good) (good) (good) (good) (b-cap) ของแท้ ของจริง ต้องเสวนา ด้วยภาษา ง่ายๆ ให้เข้าใจ เข้าถึง โดยทั่วกัน <!-- / message --><!-- edit note -->
ภาษาก็คือการสื่อสาร ถ้าพูดกันคนละภาษามันก็ไม่รู้เรื่อง เมื่อมองย้อนไปในแต่ละยุคแต่ละสมัยนั้นในแต่ละมุมโลก ก็มีภาษาใช้กันมากมาย รวมถึง วัจนภาษา และ อวัจนภาษา จุดประสงค์หลักก็คือเพื่อสัมฤทธิ์ผลในการสื่อสารนั่นเอง ส่วนจะใช้ภาษาอะไรนั้นก็ขึ้นอยู่กับกาลประเทศที่เหมาะสม บางคนก็ชอบพูดให้มันยากๆ เหมือนนักปราชญ์ แต่บางคนก็ชอบภาษาง่ายๆ ก็ว่ากันไป ... (good)
เป็นข้อจำกัดทางภาษาใช่ไหมครับ แต่ก็เท่านั้น การถ่ายทอดธรรมไม่ใช่เรื่องที่สามารถทำได้โดยง่าย แม้กิเลสเบาบางก็มิสามารถทำได้ ยิ่งทำก็ยิ่งยุ่ง ผู้ที่สามารถชี้ธรรมได้ ต้องเป็นผู้มีบารมีมากยิ่งนัก ดังเช่น ศาสดาแห่งพุทธ ผู้ประเสริฐยิ่ง